Display:

The distribution of berried female blue swimming crabs (Portunus pelagicus) was studied on the coast of southern Thailand in Trang province between Talibong Island and Had
Chao Mai National Park. Crab data were gathered using crab gill nets 1.5 m wide and 1,200 m long. Six sets of nets were placed 300 m apart. Crab samplings were done in April, August, October and December 2011. Berried females accounted for 12.1, 3.9, 29.7 and 9.5 % of the total catch in April, August, October and December respectively, while they accounted for 29.2, 8.7, 55.0 and 4.4 % of the female catch in the same time period. The percentage of berried females carrying orange, yellow and black eggs were 50.0%, 31.8% and 18.2% respectively. Berried female crabs were found in the depth of 2.8-13.3 m where the grain size of the bottom sediment was smaller than 425 µm.

ติดตามผลการจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยการเก็บข้อมูลอัตราการจับและองค๋ประกอบสัตว์น้ำของอวนจมกุ้ง อวนจมปูและอวนลอยปลาทูจากท่าเทียบเรือในหมู่บ้านประมง ในช่วงก่อนการจัดสร้างปี 2537-2538 และหวังจากจัดสร้างปี 2539-2543 ...

การศึกษาผลของฤดูกาลและจันทรคติต่อการทำประมงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) โดยอวนจมปู ในพื้นที่บ้านบางพัฒน์ ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา ระหว่างเดือนเมษายน 2553 และเดือนสิงหาคม 2553 พบว่า อัตราการจับปูม้าเฉลี่ย จากเครื่องมืออวนจมปู ในฤดูร้อน เดือนเมษายน เท่ากับ 1.769 กิโลกรัมต่อวันต่อลำ อัตราการจับปูม้าเฉลี่ย ในฤดูฝน เดือนสิงหาคม เท่ากับ 2.237 กิโลกรัมต่อวันต่อลำโดยการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลต่ออัตราการจับ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) อัตราการจับปูม้าตามจันทรคติ เดือนเมษายน มีค่าสูงสุดในช่วงขึ้น 13 ค่าและมีค่าต่ำสุดในช่วงขึ้น 4 ค่ำ เท่ากับ 4.219 และ 0.263 กิโลกรัมต่อวันต่อลำ ตามลำดับ ในช่วงเดือนสิงหาคม อัตราการจับปูม้า มีค่าสูงสุดในช่วง แรม 1 ค่ำ และมีค่าต่ำสุด ช่วงขึ้น 4 ค่ำ โดยมีค่า เท่ากับ 4.331 และ 0.550 กิโลกรัมต่อวันต่อลำ ตามลำดับ แต่การเปลี่ยนแปลงของจันทรคติ (ข้างขึ้น-ข้างแรม) มีผลต่ออัตราการจับปูม้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การกระจายของขนาดปูม้าที่ได้จากอวนจมปู ในฤดูฝน เดือนสิงหาคม พบว่า ปูม้า (รวมเพศ) มีขนาดความกว้างของกระดองระหว่าง 8.735-15.130 เซนติเมตร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.041 เซนติเมตร ปูม้าส่วนใหญ่จากการศึกษาในครั้งนี้จะมีความกว้างของกระดองอยู่ระหว่าง 12.000-12.700 เซนติเมตร