การประมงอวนจมปูบริเวณจังหวัดระนอง ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลที่แหล่งอำเภอกะเปอร์ และกิ่งอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2548 พบว่ามีการทำประมงตลอดทั้งปี โดยใช้อวนจมปูที่มีเนื้ออวนทำจากเอ็นเบอร์ 25 และเบอร์ 30 ขนาดตาอวน 7.50 - 10.00 เซนติเมตร...
การประมงอวนจมปู ดำเนินการศึกษาในแหล่งประมงอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน ตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2548 พบว่าเรือประมงที่ใช้ในบริเวณอ่าวไทยมีทั้งเรือเครื่องหางยาวและเรือวางท้อง...
จากการทดลองวางลอบปูแบบพับได้ที่มีขนาดตาอวนท้องลอบต่างกัน 3 ขนาด คือ 32 64 และ 76 มิลลิเมตร และอวนจมปูที่มีขนาดตาอวนต่างกัน 4 ขนาดคือ 90 100 110 และ 120 มิลลิเมตร จำนวนทั้งสิ้น 32 ครั้ง ในบริเวณอ่าวพังงาที่มีระดับความลึกต่ำกว่า 5 เมตร และที่มีความลึก 5 เมตรขึ้นไป ในช่วงเดือนธันวาคม 2546 ถึง เมษายน 2547 พบว่าลอบปูสามารถจับสัตว์น้ำได้ทั้งสิ้น 112.71 กิโลกรัม ...
การศึกษาความหลากชนิดของปู ที่ได้จากการทำประมงด้วยเครื่องมืออวนลอยปูในประเทศไทย โดยมีจุดเก็บตัวอย่างทั้งสิ้น 8 จุด ซึ่งเป็นตัวแทนของพื้นที่ทางชายฝั่งอ่าวไทย 4 จุดและชายฝั่งอันดามันอีก 4 จุด จากการศึกษาพบปูทั้งสิ้น 12 วงศ์ 27 สกุล 55 ชนิด ...
การศึกษาผลของฤดูกาลและจันทรคติต่อการทำประมงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) โดยอวนจมปู ในพื้นที่บ้านบางพัฒน์ ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา ระหว่างเดือนเมษายน 2533 และ เดือนสิงหาคม 2533 ...
Please complete the form below to download the document [DOCUMENT_TITLE]