Display:

Kembaren DD, Zairion, Kamal MM, Wardiatno Y. 2018. Abundance and spatial distribution of blue swimming crab (Portunus pelagicus) larvae during east monsoon in the East Lampung waters, Indonesia. Biodiversitas 19: 1326-1333. The blue swimming crab/BSC, Portunus pelagicus, is an economically important species in fishery industry and continuously being exploited, particularly in the East Lampung waters. BSC research in Indonesia during the last decade was only restricted to the adult phase, while research on their larval dynamics in nature has not been done yet. This study aimed to assess the abundance and the distribution of BSC larvae, and to describe their correlation to its environmental conditions. This study was conducted in June 2017 (during east monsoon) in the East Lampung waters. Sampling was done in surface water during the daylight hours on nine sites with three replicates on each site. Plankton abundance and oceanographic profile were also recorded from the same sampling site. The result from this study showed that the water quality from the environment was suitable for the development of BSC larvae. The abundance of the early-stage larvae (Z1-Z3) was relatively higher than the late-stage larvae (Z4 and M). The larval stages of BSC were dispersed and completed their development in the mid-shore and offshore waters. There was a tendency that the early-stage was more abundant in the northern part, while the late-stage was more abundant in the southern part of the study area. The highest larval abundance was found in the mid-shore, particularly in site number five, which was influenced by the water mass density and current direction during the east monsoon. Moreover, oxygen concentration and salinity of the water environment influenced the early-stage larvae abundance more than the late-stages abundance.

การแพร่กระจายของปูม้าขนาดเล็ก (ความกว้างกระดองน้อยกว่า 96.8 หรือ 101.1 มิลลิเมตร) ในพื้นที่ศึกษาจังหวัดตรัง เก็บข้อมูลด้วยการใช้ลอบพับเหลี่ยม ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงกันยายน พ.ศ. 2550 พบว่าปูม้าขนาดเล็กแพร่กระจายอยู่บริเวณชายฝั่ง เริ่มจากเกาะมุกต์จนถึงปากแม่น้ำตรัง โดยเฉพาะบริเวณแหล่งหญ้าทะเล ...

ข้อมูลชีววิทยาและการประมงนับเป็นข้อมูลวิชาการที่สำคัญเพื่อประกอบการวางแผนจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ปูม้า (Portunus pelagicus) เป็นทรัพยากรประมงที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ ในอดีตประเทศไทยส่งออกปูม้าเป็นอันดับ 4 ของโลก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันทรัพยากรปูม้ามีจำนวนลดลงอย่างมาก ดังนั้นงานวิจัยเอกสารชิ้นนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมงานวิจัยในอดีตจนถึงปัจจุบันเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการวางแผนฟื้นฟูทรัพยากรปูม้า ข้อมูลทางวิชาการในอดีตชี้ให้เห็นว่าการประมงปูม้าในปัจจุบันอยู่บนเงื่อนไขของการประมงที่เกินศักยภาพการผลิตทดแทนโดยธรรมชาติ ขนาดตัวของปูม้าที่จับขึ้นมาใช้ประโยชน์ขนาดเล็กลง ขนาดปูม้าเล็กที่สุดที่สามารถสืบพันธุ์ได้มีขนาดเล็กลงเมื่อเทียบกับอดีต จึงส่งผลต่อความดกไข่ที่มีจำนวนลดลงเนื่องจากขนาดตัวของพ่อแม่พันธุ์เล็กลง ทั้งนี้อาจจะเนื่องจากระดับการลงแรงประมงสูงและปูม้ามีการปรับตัวทางชีววิทยาเพื่อรักษาเผ่าพันธุ์ ฤดูกาลสืบพันธุ์และวางไข่ของปูม้ามีความแตกต่างในแต่ละพื้นที่และระหว่างปีที่ทำการศึกษา โดยข้อมูลทางชีววิทยาจากการศึกษาในอดีตจนถึงปัจจุบันแนะนำว่าควรจับปูม้าที่มีความกว้างกระดองภายนอกใหญ่กว่า 9.5 เซนติเมตร มาใช้ประโยชน์เพื่อป้องกันการเสื่อมโทรมของประชากรสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะความเค็ม อุณหภูมิ และออกซิเจนเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดอัตราการรอดของลูกปูม้า นอกจากนี้ระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง เช่น หญ้าทะเล พื้นท้องทะเลที่เป็นทราย กระแสน้ำ เป็นตัวแปรที่ต้องคำนึงในการวางแผนฟื้นฟูปูม้าเพื่อเพิ่มอัตราการรอดในธรรมชาติ